บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก กุมภาพันธ์, 2022

WEBSITE :: Blogger ภัททิรา นพศรี

รูปภาพ
WEBSITE  :: ภัททิรา นพศรี https://iampattira.blogspot.com/           เป็น Lifestyle Blog ที่ใช้เล่าเรื่องราวต่างๆ การทำงาน การเรียนป.โท บันทึกความรู้ต่างๆ การเก็บรวบรวมผลงาน ประสบการณ์ แบ่งปันเรื่องราวดีๆ ความรู้ใหม่ๆ การใช้ชีวิตบนเส้นทาง "ครู" ส่งต่อกำลังใจดีๆ มุมมองความคิดต่างๆ Lifestyle ที่ไม่เหมือนใคร วิธีคิดที่แปลก แต่มีความสุข ติดตามและเติบโตไปพร้อมกัน...  

บทความต่างประเทศ จากฐานข้อมูล ERIC

รูปภาพ
1. Digital Transformation of Legal Education: Problems, Risks and Prospects  Abstract            The subject of the research is the regulatory legal acts of the Russian Federation regulating the digital transformation of legal education. The objectives of the article are to identify risks, problems of digitalization of legal education, as well as formulate directions for the development of legal regulation of the introduction of digital technologies in education in the specialty of jurisprudence in Russia. As a result of the study, it was revealed that the digital transformation process involves the implementation of both organizational, economic and legal measures. It has been established that it is necessary to optimize educational standards for teaching digital competencies to law students, develop state programs within the digital educational environment for the implementation of innovations, digital platforms, ensure the protection of persona...

Digital transformation as distributed leadership: Firing the change agent

  Digital transformation as distributed leadership: Firing the change agent Abstract Literature has tended to describe digital transformation (the implementation and use of new digital technologies to enable major business improvements) as a strategic and rational process with clear roles, the most important one being a Chief digital officer or Chief digital information officer, who is often an individual appointed as a temporary position to undertake the digital transformation. This study has testified to a less rational, more emergent process, where the digital transformation happens without a Chief digital officer and instead is managed conjoint in the top management team. Based on this study, it is argued that digital transformation can be understood as distributed leadership, which enables a more holistic approach to mobilizing and sustaining digital transformation. Anne-Christine Rosfeldt Lorentzen,  Digital transformation as distributed leadership: Firing the change age...

การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้วิชาคอมพิวเตอร์ด้วยการเรียนแบบโครงงานเป็นฐานร่วมกับสื่อสังคมออนไลน์ เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สำหรับนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาตอนปลาย

รูปภาพ
การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้วิชาคอมพิวเตอร์ด้วยการเรียนแบบโครงงานเป็นฐานร่วมกับสื่อสังคมออนไลน์ เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารส าหรับนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาตอนปลาย THE DEVELOPMENT OF AN INSTRUCTIONAL MODEL FOR COMPUTER SUBJECT BASED ON PROJECT-BASED LEARNING WITH SOCIAL MEDIA TO ENHANCE INFORMATION COMMUNICATION AND TECHNOLOGY LITERACY FOR UPPER PRIMARY STUDENTS  กอบสุข คงมนัส, ชนันท์ธิดา ประพิณ, ช่อบุญ จิรานุภาพ และวารีรัตน์ แก้วอุไร. ( 2562 ) . การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้วิชาคอมพิวเตอร์ด้วยการเรียนแบบโครงงานเป็นฐานร่วมกับสื่อสังคมออนไลน์ เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสำหรับนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาตอนปลาย.วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร. ปีที่ 21 ฉบับที่ 1 มกราคม –มีนาคม 2562, หน้า 39-47. บทคัดย่อ การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู้วิชาคอมพิวเตอร์ด้วยการเรียนแบบโครงงานเป็นฐานร่วมกับสื่อสังคมออนไลน์ เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาตอนปลาย มีขั้...

การพัฒนารูปแบบบทเรียนออนไลน์วิชาคอมพิวเตอร์ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษา

รูปภาพ
การพัฒนารูปแบบบทเรียนออนไลน์วิชาคอมพิวเตอร์ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษา ชาตรี  เกิดธรรม, วัชราภรณ์ เพ็งสุข และอังคนา กรัณยาธิกุล. ( 2558 ) . การพัฒนารูปแบบบทเรียนออนไลน์วิชาคอมพิวเตอร์สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษา. วารสารวิจัย สมาคมห้องสมุดแห่งประเทศไทยฯ. ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม–ธันวาคม 2558, หน้า 108-118. บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์คือ 1) เพื่อศึกษาองค์ประกอบบทเรียนออนไลน์วิชาคอมพิวเตอร์สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษา 2) เพื่อพัฒนารูปแบบบทเรียนออนไลน์วิชาคอมพิวเตอร์สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษา กลุ่มตัวอย่างได้แก่ ครูผู้สอนวิชาคอมพิวเตอร์สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 1 โดยสุ่มอย่างง่าย 1 อำเภอ จำนวน 124 คน จากจำนวน 290 คน โดยแบ่งเป็น ระยะที่ 1 เป็นการศึกษาองค์ประกอบของรูปแบบบทเรียนออนไลน์วิชาคอมพิวเตอร์สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษา ระยะที่ 2 พัฒนารูปแบบบทเรียนออนไลน์ วิชาคอมพิวเตอร์สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษา ผลการวิจัยพบว่า 1) ผลการวิเคราะห์ได้ 5 องค์ประกอบหลัก คือ เนื้อหาบทเรียน ระบบการบริหารการเรียน การติดต่อสื่อสาร การสอบ/การวัดผลการเรียน ...

การบริหารจัดการการเรียนออนไลน์ กรณีศึกษา : มหาวิทยาลัยราชภัฎอุดรธานี

รูปภาพ
การบริหารจัดการการเรียนออนไลน์ กรณีศึกษา : มหาวิทยาลัยราชภัฎอุดรธานี The Online Learning Management Case Study : Udonthani Rajabhat University ธัศฐ์ชาพัฒน์ ยุกตานนท์ และโยษิตา หลวงสุรินทร์. ( 2564 ). การบริหารจัดการการเรียนออนไลน์ กรณีศึกษา : มหาวิทยาลัยราชภัฎอุดรธานี .  วารสารร่มพฤกษ์ มหาวิทยาลัยเกริก. ปีที่ 39 ฉบับที่ 1 มกราคม – เมษายน 2564 ,  หน้า  126-140. บทคัดย่อ การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาการบริหารจััดการการเรียนออนไลน์ กรณีศึกษา: ม หาวิทยาลัยราชภัฎอุดรธานี และ 2) ศึกษาแนวทางการพัฒนาการบริหารจััดการการเรียนออนไลน์ กรณีศึกษา : มหาวิทยาลัยราชภัฎอุดรธานี เป็นการวิจัยเชิงผสมผสานเชิงปริมาณและคุณภาพ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยเชิงปริมาณ คือ บุคลากรมหาวิทยาลัยราชภัฎอุดรธานีจำนวน 99 คน ได้มาโดยการกำหนดกลุ่มตัวอย่างใช้สูตร Yamane (1973 : 237) ที่ระดับความเชื่อมั่น 95% กำหนดความคลาดเคลื่อนที่ยอมรับได้ 0.05 และสุ่มจากกลุ่มตัวอย่างแบบอาศััยความน่าจะเป็น (Key Informants) และวิจัยเชิงคุณภาพโดยกำหนดกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง (Positive Sampling) จำนวน 10 คน เพื่อสัม...

การจัดการเรียนรู้ด้วยสื่อสังคมออนไลน์

รูปภาพ
การจัดการเรียนรู้ด้วยสื่อสังคมออนไลน์ (LEARNING MANAGEMENT WITH SOCIAL MEDIA) ปัณฑิตา อินทรักษา ( 2561 ) การจัดการเรียนรู้ด้วยสื่อสังคมออนไลน์ . วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร . ปีที่ 21 ฉบับที่ 4 ตุลาคม - ธันวาคม 2562, หน้า 357-365. Abstract เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มีความเจริญก้าวหน้าอย่างรวดเร็ว และมีบทบาทที่สำคัญในฐานะการเป็นเครื่องมือในการพัฒนาประเทศ พัฒนาการศึกษาและพัฒนากระบวนการจัดการเรียนรู้ให้มีประสิทธิภาพที่ดียิ่งขึ้น ผู้เรียนสามารถเกิดการเรียนรู้ได้อย่างรวดเร็วมีประสิทธิภาพสูงกว่าการเรียนรู้ที่ไม่ใช้เทคโนโลยี เกิดแรงจูงใจในการเรียนรู้ และประหยัดเวลาในการจัดการเรียนการสอนทั้งนี้ในการจัดการเรียนรู้ด้วยเทคโนโลยีและสื่อสังคมออนไลน์นั้นผู้สอนและผู้เรียนสามารถใช้การติดต่อสื่อสารผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต เสาะแสวงหาความรู้ได้ทุกที่ทุกเวลาเกิดการเรียนรู้ ตลอดชีวิต เกิดองค์ความรู้ใหม่ และเสริมสร้างทักษะการใช้ชีวิตภายใต้ความก้าวหน้าของเทคโนโลยีที่ทันสมัย นอกจากนี้ความรวดเร็วของระบบเครือข่าย จำนวนอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ การให้บริการแหล่งข้อมูลสารสนเทศเพื่อการศึกษาค้นค...

การจัดการเรียนการสอนบนเครือข่ายสังคมออนไลน์ เรื่องการเขียนเพื่อการสื่อสาร โดยใช้กระบวนการเรียนรู้ด้วยตนเอง เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาไทยสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3

การจัดการเรียนการสอนบนเครือข่ายสังคมออนไลน์ เรื่องการเขียนเพื่อการสื่อสาร โดยใช้กระบวนการเรียนรู้ด้วยตนเอง เพื่อศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาภาษาไทยสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3

ความคิดเห็นของผู้บริหารและครู เกี่ยวกับการใช้ไมโครคอมพิวเตอร์ในโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษากรุงเทพมหานคร

  ชื่อวิทยานิพนธ์ ความคิดเห็นของผู้บริหารและครู เกี่ยวกับการใช้ไมโครคอมพิวเตอร์ในโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษากรุงเทพมหานคร Opinions of Administrators and Teachers Concerning theUtilization of Microcomputers of Secondary Schoolsunder the Jurisdiction of the Department of GeneralEducation, Bangkok Metropolis ชื่อนิสิต สายัณห์ เชาว์ปรีชา Sayan Chaopreecha ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา ผศ ดร สุกรี รอดโพธิ์ทอง Assist.Prof.Dr.Sukree Rodpotong ชื่อสถาบัน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย Chulalongkorn University. Bangkok (Thailand). Graduate School. ระดับปริญญาและรายละเอียดสาขาวิชา วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต. ครุศาสตร์ (โสตทัศนศึกษา) Master. Education (Audio-Visual Education) ปีที่จบการศึกษา 2534 บทคัดย่อ(ไทย) การวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาความคิดเห็นของผู้บริหารและครู เกี่ยวกับการใช้ไมโครคอมพิวเตอร์ในโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา กรุงเทพมหานครกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้คือ ผู้บริหารจำนวน110 คน หัวหน้าหมวดวิชาจำนวน 176 คน ครูที่ทำการสอนวิชาคอมพิวเตอร์ จำนวน 42 ค...

ความคิดเห็นของผู้บริหารและอาจารย์เกี่ยวกับพฤติกรรมภาวะผู้นำของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมสาธิตสังกัดทบวงมหาวิทยาลัย กรุงเทพมหานคร

  ชื่อวิทยานิพนธ์ ความคิดเห็นของผู้บริหารและอาจารย์เกี่ยวกับพฤติกรรมภาวะผู้นำของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมสาธิตสังกัดทบวงมหาวิทยาลัย กรุงเทพมหานคร Opinions of Administrators and Teachers ConcerningLeadership Behavior of Administrators in DemonstrationSecondary Schools under the Jurisdiction of theMinistry of University Affairs, Bangkok Metropolis. ชื่อนิสิต ทรงชัย จารุภูมิ Songchai Jarupoom ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา ผศ เอกชัย กี่สุขพันธ์ Assist.Prof.Ekachai Keesookpun ชื่อสถาบัน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย Chulalongkorn University. Bangkok (Thailand). Graduate School. ระดับปริญญาและรายละเอียดสาขาวิชา วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต. ครุศาสตร์ (บริหารการศึกษา) Master. Education (Educational Administration) ปีที่จบการศึกษา 2534 บทคัดย่อ(ไทย) การวิจัยครั้งนี้ มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษา พฤติกรรมภาวะผู้นำของผู้บริหาร ในโรงเรียนมัธยมสาธิต สังกัดทบวงมหาวิทยาลัย กรุงเทพมหานคร และเปรียบเทียบควมคิดเห็นของผู้บริหารและอาจารย์เกี่ยวกับพฤติกรรมภาวะผู้นำของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมสาธิต สังกัดทบวงมหาวิทยาลัยกรุง...

ปัจจัยที่มีผลต่อการยอมรับการใช้ระบบสารสนเทศโดยใช้คอมพิวเตอร์เครือข่ายเพื่อ การบริหารงานวิชาการของครูอาจารย์วิทยาลัยอาชีวศึกษา สังกัดกรมอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ในเขตกรุงเทพมหานคร

  ชื่อวิทยานิพนธ์ ปัจจัยที่มีผลต่อการยอมรับการใช้ระบบสารสนเทศโดยใช้คอมพิวเตอร์เครือข่ายเพื่อ การบริหารงานวิชาการของครูอาจารย์วิทยาลัยอาชีวศึกษา สังกัดกรมอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ ในเขตกรุงเทพมหานคร Factors Affecting to an Acceptance of Using Computer Based Information System for Academic Administration of Teachers in Vocational Colleges under the Vocational Department, Ministry of Education, in Bangkok Area ชื่อนิสิต ประภาภรณ์ ชุบสุวรรณ Prapaporn Chupsuwan ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา รศ อดิศักดิ์ พงษ์พูลศักดิ์ ผศ ดร ไพบูลย์ เกียรติโกมล Asso Prof Adisak Pongpullphonsak Asst Prof Dr Paiboon Kiattikomol ชื่อสถาบัน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี. บัณฑิตวิทยาลัย King Mongkuts University of Technology Thonburi. Bangkok (Thailand). Graduate School. ระดับปริญญาและรายละเอียดสาขาวิชา วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต. ครุศาสตร์อุตสาหกรรม (คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ) Master. Science in Industriaal Education (Computer and Information Technology) ปีที่จบการศึกษา 2545 บทคัดย่อ(ไทย) การศึกษาวิจัยนี้มี...